top of page

       การเลิกสูบบุหรี่ :การหยุดสูบบุหรี่จะเป็นการป้องกันโรคหัวใจได้ดีการสูบบุหรี่ไม่ว่าจะเป็นบุหรี่ไร้ควันหรือบุหรี่ที่มีนิโคตินต่ำหรือซิการ์ก็จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจสำหรับท่านที่ไม่ได้สูบบุหรี่หากท่านอยู่ใกล้ชิดกับคนที่สูบบุหรี่ท่านอาจจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจเหมือนคนที่สูบบุหรี่เรื่องว่าเป็นผลจากการสูบบุหรี่มือสอง

    •บุหรี่มีสารเคมีมากกว่า4800ชนิดซึ่งเป็นอันตรายต่อหัวใจและหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดตีบได้               

      •บุหรี่จะทำให้หัวใจท่านทำงานมากขึ้นเนื่องจากเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงตีบ หัวใจเต้นเร็ว และความดันโลหิตเพิ่มขึ้น                 

        •ผู้หญิงที่สูบบุหรี่ร่วมกับการกินยาคุมกำเนิด จะทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจเพิ่มขึ้น

 

               

 

               

 

 

 

 

    การรับประทานอาหาร : การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับป้องกันโรคหัวใจ จะเป็นอาหารที่ป้องกันโรคที่เกิดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง รวมทั้งปริมาณอาหารก็ไม่ควรเกิน

  •หลีกเลี่ยงอาหารมันบางชนิดที่มีผลเสียต่อหัวใจ เช่น ไขมันอิ่มตัว (Saturated fat) ,Tran_fatty acid ได้แก่ น้ำมันปามล์ น้ำมันมะพร้าว ไขมันจากสัตว์ เครื่องใน กุ้ง ปลาหมึก ไก่ทอด ฟิสซ่า กล้วยแขก เนย มาการีน

     •ให้รับประทานผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เพราะผักและผลไม้จะช่วยป้องกันหลอดเลือดของท่าน

     •รับประทานปลาเพราะเนื้อปลามี Omega-3-fatty acid

 

               

 

 

 

 

   การตรวจสุขภาพ : การตรวจสุขภาพหมายถึงการที่ท่านจะต้องพิจารณาว่า ท่านมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจหรือไม่ เช่น การพักผ่อน ความเครียด การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย ประวัติครอบครัวเป็นโรคหัวใจหรือไม่ หากท่านพบว่าท่านมีความเสี่ยงข้อใด ท่านจะต้องปรับปรุงพฤติกรรม สำหรับบางท่านการตรวจร่างกายโดยการเจาะเลือด และแพทย์ตรวจก็มีความจำเป็นเนื่องจากบางโรคไม่มีอาการ เช่นความดันโลหิตที่เริ่มเป็น ไขมันในเลือดสูง เบาหวานที่เริ่มเป็น ท่านที่มีประวัติครอบครัวเป็นโรคหัวใจ อ้วน หรือมีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ หรือท่านที่อายุมากกว่า 35 ปี โดยไม่มีความเสี่ยง ให้ท่านได้รับการตรวจ

 

               

 

 

 

 

      การออกกำลังกาย : การออกกำลังกายเป็นสิ่งที่ดี แต่มีเพียงจำนวนไม่มากที่ออกกำลังกายการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอออกอย่างต่อเนื่องจะช่วยลดการเกิดโรคหัวใจได้ 1ใน4 หากร่วมกับปรับพฤติกรรมอื่นจะช่วยลดการเกิดโรคหัวใจได้มากขึ้นผลดีของการออกกำลังกาย

 

     การออกกำลังกายแบบแอร์โรบิค{aerobic} การลดปัจจัยเสี่ยงสำหรับการเกิดโรคหัวใจ การหลีกเลี่ยงสิ่งที่จะทำร้ายหัวใจ แต่สำหรับคนที่เป็นโรคหัวใจไม่ว่าจะเป็นโรคหัวใจชนิดไหนมักจะได้รับคำแนะนำจากคนทั่วไปว่าไม่ควรออกกำลังกาย แต่ความเป็นจริงคนที่เป็นโรคหัวใจก็มีความหนักเบาไม่เท่ากันดังนั้นการที่มีโรคหัวใจก็สามารถออกกำลังกายได้แต่ควรได้รับการปรึกษาจากแพทย์ที่ดูแลท่านก่อนการออกกำลังกายหลายท่านที่เป็นโรคหัวใจมักจะหาอาหารหรือยาเพื่อบำรุงหัวใจ แต่ในความเป็นจริงแล้วไม่มียาหรืออาหารที่บำรุงหัวใจ

       • ทำให้หัวใจแข็งแรง

       • ควบคุมน้ำหนักไม่ให้ขึ้น

       • ลดระดับความดันโลหิต

       • ลดโอกาสเกิดโรคเบาหวานและไขมันในเลือด

       

 

 

 

 

 

 

 

 

 

วิธีการดูแลและป้องกันโรคหัวใจ

       แนะนำให้ออกกำลังกายปานกลางวันละ30-40 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วันหากไม่สามารถออกกำลังดังกล่าวได้ท่านสามารถออกกำลังกายโดยการ ทำงานบ้านเพิ่ม เช่นการทำสวน การล้างรถ การเดินไปตลาด การขึ้นบันไดแทนการขึ้นลิฟท์วใจแต่สำหรับคนที่เป็นโรคหัวใจไม่ว่าจะเป็นโรคหัวใจชนิดไหนมักจะได้รับคำแนะนำจากคนทั่วไปว่าไม่ควรออกกำลังกายแต่ความเป็นจริงคนที่เป็นโรคหัวใจก็มีความหนักเบาไม่เท่ากันดังนั้นการที่มีโรคหัวใจก็สามารถออกกำลังกายได้แต่ควรได้รับการปรึกษาจากแพทย์ที่ดูแลท่านก่อนการออกกำลังกายหลายท่านที่เป็นโรคหัวใจมักจะหาอาหารหรือยาเพื่อบำรุงหัวใจแต่ในความเป็นจริงแล้วไม่มียาหรืออาหารที่บำรุงหัวใจ

© 2015 by Phatipon Proudly created with Wix.com

  • Facebook Social Icon
bottom of page